Acquired immune deficiency syndrome or acquired immunodeficiency syndrome (AIDS or Aids) is a collection of symptoms and infections resulting from the specific damage to the immune system caused by the human immunodeficiency virus (HIV) in humans,[1] and similar viruses in other species (SIV, FIV, etc.). The late stage of the condition leaves individuals susceptible to opportunistic infections and tumors. Although treatments for AIDS and HIV exist to decelerate the virus's progression, there is currently no known cure. HIV, et al., are transmitted through direct contact of a mucous membrane or the bloodstream with a bodily fluid containing HIV, such as blood, semen, vaginal fluid, preseminal fluid, and breast milk.[2][3] This transmission can come in the form of anal, vaginal or oral sex, blood transfusion, contaminated hypodermic needles, exchange between mother and baby during pregnancy, childbirth, or breastfeeding, or other exposure to one of the above bodily fluids.
Most researchers believe that HIV originated in sub-Saharan Africa during the twentieth century;[4] it is now a pandemic, with an estimated 33.2 million people now living with the disease worldwide.[5] As of January 2006, the Joint United Nations Programme on HIV/AIDS (UNAIDS) and the World Health Organization (WHO) estimate that AIDS has killed more than 25 million people since it was first recognized on June 5, 1981, making it one of the most destructive epidemics in recorded history. In 2005 alone, AIDS claimed an estimated 2.4–3.3 million lives, of which more than 570,000 were children.[6] A third of these deaths are occurring in sub-Saharan Africa, retarding economic growth and destroying human capital. Antiretroviral treatment reduces both the mortality and the morbidity of HIV infection, but routine access to antiretroviral medication is not available in all countries.[7] AIDS death toll in Africa may reach 90-100 million by 2025.
HIV/AIDS stigma is more severe than that associated with other life-threatening conditions and extends beyond the disease itself to providers and even volunteers involved with the care of people living with HIV.
วันพุธที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552
วันอังคารที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2552
หอเอนปิซา
หอเอนเมืองปิซา (อิตาลี: Torre pendente di Pisa หรือ La Torre di Pisa, อังกฤษ: Leaning Tower of Pisa) ตั้งอยู่ที่เมืองปิซา ในจัตุรัสเปียซซา เดล ดูโอโม (Piazza Del Duomo) หอระฆังของศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เป็นหอทรงกระบอก 8 ชั้น สร้างด้วยหินอ่อนสีขาว สูง 183.3 ฟุต (55.86 เมตร) น้ำหนักรวม 14,500 ตันโดยประมาณ มีบันได 293 ขั้น เอียง 3.97 องศา ยอดของหอห่างจากแนวตั้งฉาก 3.9 เมตร
เริ่มสร้างเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ.1173 แต่การก่อสร้างหยุดชะงักเมื่อสร้างไปได้ถึงชั้น 3 เนื่องจากพื้นใต้ดินเป็นพื้นดินที่นิ่ม ทำให้ยุบตัว ต่อมาในปี ค.ศ.1272 โดย Giovanni di Simone สร้างให้เอนกลับไปอีกด้านหนึ่งเพื่อให้สมดุล แต่การก่อสร้างในครั้งนี้ ก็ต้องหยุดชะงักลงอีกครั้งเนื่องจากเกิดสงคราม ต่อมาก็มีการสร้างหอต่อขึ้นอีกและสร้างเสร็จ 7 ชั้น ในปี ค.ศ.1319 แต่หอระฆังถูกสร้างเสร็จในปี ค.ศ.1372 โดยใช้เวลาสร้างทั้งหมด 177 ปี
หลังจากนั้น ในปี ค.ศ. 1990-2001 หอเอนปีซาได้รับการปรับปรุงฐานให้แข็งแรงยิ่งขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้หอล้มลงมา
หลังจากนั้น ในปี ค.ศ. 1990-2001 หอเอนปีซาได้รับการปรับปรุงฐานให้แข็งแรงยิ่งขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้หอล้มลงมา
กาลิเลโอ กาลิเลอิ เคยใช้หอนี้ทดลองเกี่ยวกับเรื่อง แรงโน้มถ่วง ในตอนที่เขาเรียนอยู่ที่มหาวิทยาลัยปิซา โดยใช้ลูกบอล 2 ลูกที่น้ำหนักไม่เท่ากันทิ้งลงมา เพื่อพิสูจน์ว่า ลูกบอล 2 ลูกจะตกถึงพื้นพร้อมกัน ซึ่งก็เป็นไปตามที่กาลิเลโอคาดไว้
ในปี ค.ศ.1934 เบนิโต มุสโสลินี พยายามจะทำให้หอกลับมาตั้งฉากดังเดิม โดยเทคอนกรีตลงไปที่ฐาน แต่กลับทำให้หอยิ่งเอียงมากขึ้นไปอีก กองทัพสหรัฐฯ ตัดสินใจไม่ยิงปืนใหญ่ใส่หอเอนเมืองปิซา
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1964 รัฐบาลอิตาลี พยายามหยุดการเอียงของหอเอนเมืองปิซา โดยผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ เช่น วิศวกร นักคณิตศาสตร์ และนักประวัติศาสตร์ โดยใช้เหล็กรวมกว่า 800 ตัน ค้ำไว้ไม่ให้หอล้มลงมา
ในวันที่ 7 มกราคม ค.ศ.1990 หอเอนเมืองปิซาถูกปิดไม่ให้นักท่องเที่ยว เพื่อความปลอดภัย อีกทั้งยังขุดดินของอีกด้านหนึ่งออก เพื่อให้สมดุลยิ่งขึ้น และในวันที่ 15 ธันวาคม 2001 หอเอนเมืองปิซาถูกเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมอีกครั้ง และถูกประกาศว่าสมดุลแล้วใน 300 ปีต่อมาหลังจากเริ่มทำการปรับปรุง
ค.ศ.1987 หอเอนเมืองปิซาถูกประกาศให้เป็นมรดกโลก โดยเป็นส่วนหนึ่งของ Piazza Dei Miracoli หอเอนเมืองปิซายังเป็น 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคกลางอีกด้วย
ในปี ค.ศ.1934 เบนิโต มุสโสลินี พยายามจะทำให้หอกลับมาตั้งฉากดังเดิม โดยเทคอนกรีตลงไปที่ฐาน แต่กลับทำให้หอยิ่งเอียงมากขึ้นไปอีก กองทัพสหรัฐฯ ตัดสินใจไม่ยิงปืนใหญ่ใส่หอเอนเมืองปิซา
วันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1964 รัฐบาลอิตาลี พยายามหยุดการเอียงของหอเอนเมืองปิซา โดยผู้เชี่ยวชาญในด้านต่างๆ เช่น วิศวกร นักคณิตศาสตร์ และนักประวัติศาสตร์ โดยใช้เหล็กรวมกว่า 800 ตัน ค้ำไว้ไม่ให้หอล้มลงมา
ในวันที่ 7 มกราคม ค.ศ.1990 หอเอนเมืองปิซาถูกปิดไม่ให้นักท่องเที่ยว เพื่อความปลอดภัย อีกทั้งยังขุดดินของอีกด้านหนึ่งออก เพื่อให้สมดุลยิ่งขึ้น และในวันที่ 15 ธันวาคม 2001 หอเอนเมืองปิซาถูกเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมอีกครั้ง และถูกประกาศว่าสมดุลแล้วใน 300 ปีต่อมาหลังจากเริ่มทำการปรับปรุง
ค.ศ.1987 หอเอนเมืองปิซาถูกประกาศให้เป็นมรดกโลก โดยเป็นส่วนหนึ่งของ Piazza Dei Miracoli หอเอนเมืองปิซายังเป็น 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลกยุคกลางอีกด้วย
วันจันทร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2552
กาลิเลโอ
กาลิเลโอ เกิดเมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1564 ที่เมืองปิซา ประเทศอิตาลี เป็นบุตรคนโตในจำนวนบุตร 6 คนของวินเซนโซ กาลิเลอี นักดนตรีลูทผู้มีชื่อเสียง มารดาชื่อ จิวเลีย อัมมันนาทิ เมื่อกาลิเลโออายุได้ 8 ขวบ ครอบครัวได้ย้ายไปตั้งรกรากที่เมืองฟลอเรนซ์ แต่กาลิเลโอต้องพำนักอยู่กับจาโกโป บอร์กินิ เป็นเวลาสองปี เขาเรียนหนังสือที่อารามคามัลโดลีส เมืองวัลลอมโบรซา ซึ่งอยู่ห่างจากฟลอเรนซ์ไปทางตะวันออกเฉียงใต้ประมาณ 34 กิโลเมตร กาลิเลโอมีความคิดจะบวชตั้งแต่ยังหนุ่ม แต่เขาก็ได้สมัครเข้าเรียนวิชาแพทย์ที่มหาวิทยาลัยแห่งปิซาตามความต้องการของพ่อ กาลิเลโอเรียนแพทย์ไม่จบ กลับไปได้ปริญญาสาขาคณิตศาสตร์มาแทน ปี ค.ศ. 1589 เขาได้รับเลือกเป็นหัวหน้าวิชาคณิตศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยปิซา เมื่อถึงปี ค.ศ. 1591 บิดาของเขาเสียชีวิต กาลิเลโอรับหน้าที่อภิบาลน้องชายคนหนึ่งคือ มิเชลาก์โนโล เขาย้ายไปสอนที่มหาวิทยาลัยปาดัวในปี ค.ศ. 1592 โดยสอนวิชาเรขาคณิต กลศาสตร์ และดาราศาสตร์ จนถึงปี ค.ศ. 1610 ในระหว่างช่วงเวลานี้ กาลิเลโอได้ทำการค้นพบที่สำคัญมากมาย ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ (เช่น จลนศาสตร์การเคลื่อนที่ และดาราศาสตร์) หรือวิทยาศาสตร์ประยุกต์ (เช่น ความแข็งของวัตถุ และการพัฒนากล้องโทรทรรศน์) ความสนใจของเขายังครอบคลุมถึงความรู้ด้านโหราศาสตร์ ซึ่งในยุคสมัยนั้นมีความสำคัญไม่แพ้คณิตศาสตร์หรือดาราศาสตร์ทีเดียว
แม้กาลิเลโอจะเป็นชาวคาทอลิกที่เคร่งครัด แต่เขากลับมีลูกนอกสมรส 3 คนกับมารินา แกมบา เป็นลูกสาว 2 คนคือ เวอร์จิเนีย (เกิด ค.ศ. 1600) กับลิเวีย (เกิด ค.ศ. 1601) และลูกชาย 1 คนคือ วินเซนซิโอ (เกิด ค.ศ. 1606) เนื่องจากลูกสาวทั้งสองเป็นลูกนอกสมรส จึงไม่สามารถแต่งงานกับใครได้ ทางเลือกเดียวที่ดีสำหรับพวกเธอคือหนทางแห่งศาสนา เด็กหญิงทั้งสองถูกส่งตัวไปยังคอนแวนต์ที่ซานมัททิโอ ในเมืองอาร์เซทิ และพำนักอยู่ที่นั่นจวบจนตลอดชีวิต เวอร์จิเนียใช้ชื่อทางศาสนาว่า มาเรีย เคเลสเท เธอเสียชีวิตเมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1634 ร่างของเธอฝังไว้กับกาลิเลโอที่สุสานบาซิลิกาซานตาโครเช ลิเวียใช้ชื่อทางศาสนาว่า ซิสเตอร์อาร์แคนเจลา มีสุขภาพไม่ค่อยดีและป่วยกระเสาะกระแสะอยู่เสมอ ส่วนวินเซนซิโอได้ขึ้นทะเบียนเป็นบุตรตามกฎหมายในภายหลัง และได้แต่งงานกับเซสทิเลีย บอคคิเนริ
ปี ค.ศ. 1610 กาลิเลโอเผยแพร่งานค้นคว้าของเขาซึ่งเป็นผลสังเกตการณ์ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี ด้วยผลสังเกตการณ์นี้เขาเสนอแนวคิดว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล เป็นการสนับสนุนแนวคิดของโคเปอร์นิคัส ซึ่งขัดแย้งกับแนวคิดดั้งเดิมของปโตเลมีและอริสโตเติลที่ว่า โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล ปีถัดมากาลิเลโอเดินทางไปยังโรม เพื่อสาธิตกล้องโทรทรรศน์ของเขาให้แก่เหล่านักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ที่สนใจ เพื่อให้พวกเขาได้เห็นดวงจันทร์ทั้งสี่ดวงของดาวพฤหัสบดีด้วยตาของตัวเอง ที่กรุงโรม เขาได้เข้าเป็นสมาชิกของอคาเดเมีย เดอ ลินเซีย (ลินเซียน อคาเดมี)
ปี ค.ศ. 1612 เกิดการต่อต้านแนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ปี ค.ศ. 1614 คุณพ่อโทมาโซ คัคชินิ ประกาศขณะขึ้นเทศน์ในโบสถ์ซานตามาเรียโนเวลลา กล่าวประนามแนวคิดของกาลิเลโอที่หาว่าโลกเคลื่อนที่ ว่าเขาเป็นบุคคลอันตรายและอาจเป็นพวกนอกรีต กาลิเลโอเดินทางไปยังโรมเพื่อต่อสู้ข้อกล่าวหา แต่ในปี ค.ศ. 1616 พระคาร์ดินัล โรแบร์โต เบลลาร์มิโน ได้มอบเอกสารสั่งห้ามกับกาลิเลโอเป็นการส่วนตัว มิให้เขาไปเกี่ยวข้องหรือสอนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฎีดาราศาสตร์ของโคเปอร์นิคัสอีก1 ระหว่างปี 1621 ถึง 1622 กาลิเลโอเขียนหนังสือเล่มแรกของเขา คือ "The Assayer" (อิตาลี: Il Saggiatore; หมายถึง นักวิเคราะห์) ต่อมาได้รับอนุญาตให้พิมพ์เผยแพร่ได้ในปี ค.ศ. 1623 กาลิเลโอเดินทางกลับไปโรมอีกครั้งในปี ค.ศ. 1630 เพื่อขออนุญาตตีพิมพ์หนังสือ "Dialogue Concerning the Two Chief World Systems" (บทสนทนาว่าด้วยโลกสองระบบ) ต่อมาได้พิมพ์เผยแพร่ในฟลอเรนซ์ในปี 1632 อย่างไรก็ดี ในเดือนตุลาคมปีเดียวกันนั้น เขาได้รับคำสั่งให้ไปให้การต่อหน้าศาลศาสนาที่กรุงโรม
จากเอกสารการค้นคว้าและทดลองของเขา ทำให้เขาถูกตัดสินว่าต้องสงสัยร้ายแรงในการเป็นพวกนอกรีต กาลิเลโอถูกควบคุมตัวอย่างเข้มงวด นับแต่ปี ค.ศ. 1634 เป็นต้นไป เขาต้องอยู่แต่ในบ้านชนบทที่อาร์เซทิ นอกเมืองฟลอเรนซ์ กาลิเลโอตาบอดอย่างถาวรในปี ค.ศ. 1638 ทั้งยังต้องทุกข์ทรมานจากโรคไส้เลื่อนและโรคนอนไม่หลับ ต่อมาเขาจึงได้รับอนุญาตให้ไปยังฟลอเรนซ์ได้เพื่อรักษาตัว เขายังคงออกต้อนรับผู้มาเยี่ยมเยือนอยู่เสมอตราบจนปี ค.ศ. 1642 ซึ่งเขาเสียชีวิตด้วยอาการไข้สูงและหัวใจล้มเหลว
แม้กาลิเลโอจะเป็นชาวคาทอลิกที่เคร่งครัด แต่เขากลับมีลูกนอกสมรส 3 คนกับมารินา แกมบา เป็นลูกสาว 2 คนคือ เวอร์จิเนีย (เกิด ค.ศ. 1600) กับลิเวีย (เกิด ค.ศ. 1601) และลูกชาย 1 คนคือ วินเซนซิโอ (เกิด ค.ศ. 1606) เนื่องจากลูกสาวทั้งสองเป็นลูกนอกสมรส จึงไม่สามารถแต่งงานกับใครได้ ทางเลือกเดียวที่ดีสำหรับพวกเธอคือหนทางแห่งศาสนา เด็กหญิงทั้งสองถูกส่งตัวไปยังคอนแวนต์ที่ซานมัททิโอ ในเมืองอาร์เซทิ และพำนักอยู่ที่นั่นจวบจนตลอดชีวิต เวอร์จิเนียใช้ชื่อทางศาสนาว่า มาเรีย เคเลสเท เธอเสียชีวิตเมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1634 ร่างของเธอฝังไว้กับกาลิเลโอที่สุสานบาซิลิกาซานตาโครเช ลิเวียใช้ชื่อทางศาสนาว่า ซิสเตอร์อาร์แคนเจลา มีสุขภาพไม่ค่อยดีและป่วยกระเสาะกระแสะอยู่เสมอ ส่วนวินเซนซิโอได้ขึ้นทะเบียนเป็นบุตรตามกฎหมายในภายหลัง และได้แต่งงานกับเซสทิเลีย บอคคิเนริ
ปี ค.ศ. 1610 กาลิเลโอเผยแพร่งานค้นคว้าของเขาซึ่งเป็นผลสังเกตการณ์ดวงจันทร์ของดาวพฤหัสบดี ด้วยผลสังเกตการณ์นี้เขาเสนอแนวคิดว่า ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล เป็นการสนับสนุนแนวคิดของโคเปอร์นิคัส ซึ่งขัดแย้งกับแนวคิดดั้งเดิมของปโตเลมีและอริสโตเติลที่ว่า โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล ปีถัดมากาลิเลโอเดินทางไปยังโรม เพื่อสาธิตกล้องโทรทรรศน์ของเขาให้แก่เหล่านักปรัชญาและนักคณิตศาสตร์ที่สนใจ เพื่อให้พวกเขาได้เห็นดวงจันทร์ทั้งสี่ดวงของดาวพฤหัสบดีด้วยตาของตัวเอง ที่กรุงโรม เขาได้เข้าเป็นสมาชิกของอคาเดเมีย เดอ ลินเซีย (ลินเซียน อคาเดมี)
ปี ค.ศ. 1612 เกิดการต่อต้านแนวคิดดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาล ปี ค.ศ. 1614 คุณพ่อโทมาโซ คัคชินิ ประกาศขณะขึ้นเทศน์ในโบสถ์ซานตามาเรียโนเวลลา กล่าวประนามแนวคิดของกาลิเลโอที่หาว่าโลกเคลื่อนที่ ว่าเขาเป็นบุคคลอันตรายและอาจเป็นพวกนอกรีต กาลิเลโอเดินทางไปยังโรมเพื่อต่อสู้ข้อกล่าวหา แต่ในปี ค.ศ. 1616 พระคาร์ดินัล โรแบร์โต เบลลาร์มิโน ได้มอบเอกสารสั่งห้ามกับกาลิเลโอเป็นการส่วนตัว มิให้เขาไปเกี่ยวข้องหรือสอนหนังสือเกี่ยวกับทฤษฎีดาราศาสตร์ของโคเปอร์นิคัสอีก1 ระหว่างปี 1621 ถึง 1622 กาลิเลโอเขียนหนังสือเล่มแรกของเขา คือ "The Assayer" (อิตาลี: Il Saggiatore; หมายถึง นักวิเคราะห์) ต่อมาได้รับอนุญาตให้พิมพ์เผยแพร่ได้ในปี ค.ศ. 1623 กาลิเลโอเดินทางกลับไปโรมอีกครั้งในปี ค.ศ. 1630 เพื่อขออนุญาตตีพิมพ์หนังสือ "Dialogue Concerning the Two Chief World Systems" (บทสนทนาว่าด้วยโลกสองระบบ) ต่อมาได้พิมพ์เผยแพร่ในฟลอเรนซ์ในปี 1632 อย่างไรก็ดี ในเดือนตุลาคมปีเดียวกันนั้น เขาได้รับคำสั่งให้ไปให้การต่อหน้าศาลศาสนาที่กรุงโรม
จากเอกสารการค้นคว้าและทดลองของเขา ทำให้เขาถูกตัดสินว่าต้องสงสัยร้ายแรงในการเป็นพวกนอกรีต กาลิเลโอถูกควบคุมตัวอย่างเข้มงวด นับแต่ปี ค.ศ. 1634 เป็นต้นไป เขาต้องอยู่แต่ในบ้านชนบทที่อาร์เซทิ นอกเมืองฟลอเรนซ์ กาลิเลโอตาบอดอย่างถาวรในปี ค.ศ. 1638 ทั้งยังต้องทุกข์ทรมานจากโรคไส้เลื่อนและโรคนอนไม่หลับ ต่อมาเขาจึงได้รับอนุญาตให้ไปยังฟลอเรนซ์ได้เพื่อรักษาตัว เขายังคงออกต้อนรับผู้มาเยี่ยมเยือนอยู่เสมอตราบจนปี ค.ศ. 1642 ซึ่งเขาเสียชีวิตด้วยอาการไข้สูงและหัวใจล้มเหลว
วันอาทิตย์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2552
La Tomatina Festival
La Tomatina is a food fight festival held on the last Wednesday of August each year in the town of Buñol in the Valencia region of Spain. Tens of thousands of participants come from all over the world to fight in a brutal battle where more than one hundred metric tons of over-ripe tomatoes are thrown in the streets.
The week-long festival features music, parades, dancing, and fireworks. On the night before the tomato fight, participants of the festival compete in a paella cooking contest. It is tradition for the women to wear all white and the men to wear no shirts. This festival started in a casual way in 1945[1], but wasn't officially recognized until 1952.
Approximately 20,000–50,000 tourists come to the tomato fight, multiplying by several times Buñol's normal population of slightly over 9,000. There is limited accommodation for people who come to La Tomatina, and thus many participants stay in Valencia and travel by bus or train to Buñol, about 38 km outside the city. In preparation for the dirty mess that will ensue, shopkeepers use huge plastic covers on their storefronts in order to protect them.
The week-long festival features music, parades, dancing, and fireworks. On the night before the tomato fight, participants of the festival compete in a paella cooking contest. It is tradition for the women to wear all white and the men to wear no shirts. This festival started in a casual way in 1945[1], but wasn't officially recognized until 1952.
Approximately 20,000–50,000 tourists come to the tomato fight, multiplying by several times Buñol's normal population of slightly over 9,000. There is limited accommodation for people who come to La Tomatina, and thus many participants stay in Valencia and travel by bus or train to Buñol, about 38 km outside the city. In preparation for the dirty mess that will ensue, shopkeepers use huge plastic covers on their storefronts in order to protect them.
History
The festival is in honor of the town's patron saints, St. Louis Bertrand (San Luis Bertràn) and the Mare de Déu dels Desemparats (Mother of God of the Defenseless), a title of the Virgin Mary.
The tomato fight has been a strong tradition in Buñol since 1944 or 1945[1]. No one is completely certain how this event originated. Possible theories on how the Tomatina began include a local food fight among friends, a juvenile class war, a volley of tomatoes from bystanders at a carnival parade, a practical joke on a bad musician, and the anarchic aftermath of an accidental lorry spillage. One of the most popular theories is that disgruntled townspeople attacked city councilmen with tomatoes during a town celebration. Whatever happened to begin the tradition, it was enjoyed so much that it was repeated the next year, and the year after that, and so on. The holiday was banned during the Spanish State period under Francisco Franco for having no religious significance, but returned in the 1970s after his demise.
The tomato fight has been a strong tradition in Buñol since 1944 or 1945[1]. No one is completely certain how this event originated. Possible theories on how the Tomatina began include a local food fight among friends, a juvenile class war, a volley of tomatoes from bystanders at a carnival parade, a practical joke on a bad musician, and the anarchic aftermath of an accidental lorry spillage. One of the most popular theories is that disgruntled townspeople attacked city councilmen with tomatoes during a town celebration. Whatever happened to begin the tradition, it was enjoyed so much that it was repeated the next year, and the year after that, and so on. The holiday was banned during the Spanish State period under Francisco Franco for having no religious significance, but returned in the 1970s after his demise.
วันพุธที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2552
Mozilla Firefox
Mozilla Firefox est un navigateur Web gratuit, développé et distribué par la Mozilla Foundation aidée de centaines de bénévoles grâce aux méthodes de développement du logiciel libre/Open Source et à la liberté du code source.
Firefox est à l'origine un programme dérivé du logiciel Mozilla (aujourd'hui connu sous le nom de SeaMonkey), mais reprenant uniquement les fonctions de navigation de ce dernier. Ce logiciel multiplateforme est compatible avec diverses versions de Microsoft Windows, Mac OS X et GNU/Linux. Il a été porté sur d'autres systèmes d'exploitation, ce qui est rendu possible par la mise à disposition de son code source sous trois licences libres différentes en même temps (MPL, GPL et LGPL)[2].
Ce logiciel a connu un succès croissant depuis sa sortie, dépassant le demi-milliard[D 1] de téléchargements en février 2008. Même si ce nombre ne reflète pas le nombre réel d'utilisateurs du logiciel, Firefox est rapidement devenu le principal concurrent d'Internet Explorer, le navigateur Web de Microsoft.
Firefox est à l'origine un programme dérivé du logiciel Mozilla (aujourd'hui connu sous le nom de SeaMonkey), mais reprenant uniquement les fonctions de navigation de ce dernier. Ce logiciel multiplateforme est compatible avec diverses versions de Microsoft Windows, Mac OS X et GNU/Linux. Il a été porté sur d'autres systèmes d'exploitation, ce qui est rendu possible par la mise à disposition de son code source sous trois licences libres différentes en même temps (MPL, GPL et LGPL)[2].
Ce logiciel a connu un succès croissant depuis sa sortie, dépassant le demi-milliard[D 1] de téléchargements en février 2008. Même si ce nombre ne reflète pas le nombre réel d'utilisateurs du logiciel, Firefox est rapidement devenu le principal concurrent d'Internet Explorer, le navigateur Web de Microsoft.
วันอังคารที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2552
Orchestre philharmonique de Vienne
L'Orchestre philharmonique de Vienne est un orchestre symphonique autrichien considéré comme l'un des plus prestigieux au monde. Il est un symbole de la culture et de l'histoire viennoises. Le « son » de l'orchestre est raffiné, soyeux et coloré avec une tendance à la prédominance des sonorités graves, une sonorité unique et facilement discernable.
Il est fondé en 1842 et, après des débuts difficiles, devient l'un des meilleurs orchestres de Vienne. Les chefs les plus illustres vont en perfectionner l'excellence. L'orchestre a compté dans son effectif des membres prestigieux comme Hans Richter, Arthur Nikisch, Franz Schmidt, Willi Boskovsky. Ses membres sont recrutés exclusivement parmi ceux de l'Orchestre de l'Opéra d'État de Vienne.
La résidence principale de l'orchestre est le Musikverein, une salle de concert rectangulaire magnifique, aux tons ivoires et dorés et à l'acoustique exceptionnelle. Il se produit chaque été au Festival de Salzbourg. Depuis 1941, l'orchestre donne chaque 1er janvier un concert dédié à la musique de la famille Strauss : le célèbre concert du Nouvel An.
Il est fondé en 1842 et, après des débuts difficiles, devient l'un des meilleurs orchestres de Vienne. Les chefs les plus illustres vont en perfectionner l'excellence. L'orchestre a compté dans son effectif des membres prestigieux comme Hans Richter, Arthur Nikisch, Franz Schmidt, Willi Boskovsky. Ses membres sont recrutés exclusivement parmi ceux de l'Orchestre de l'Opéra d'État de Vienne.
La résidence principale de l'orchestre est le Musikverein, une salle de concert rectangulaire magnifique, aux tons ivoires et dorés et à l'acoustique exceptionnelle. Il se produit chaque été au Festival de Salzbourg. Depuis 1941, l'orchestre donne chaque 1er janvier un concert dédié à la musique de la famille Strauss : le célèbre concert du Nouvel An.
วันจันทร์ที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2552
กองหินประหลาดสโตนเฮนจ์
กองหินประหลาดสโตนเฮนจ์ ดสโตนเฮนจ์ มีอายุประมาณปลายยุคหินถึงต้นยุคบรอนซ์ ตั้งอยู่ในบริเวณที่ราบซาลิสเบอรี ด้านเหนือของเมืองซาลิสเบอรี ในมณฑลวิลไซร์ ห่างจากกรุงลอนดอนไป 10 ไมล์ ประเทศอังกฤษ ไม่มีหลักฐานว่าใครเป็นผู้นำมาวางไว้ และนำมาวางไว้เพื่อจุดประสงค์ใด นักวิทยาศาสตร์บางท่านสันนิษฐานว่าสร้างมาเพื่อประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของมนุษย์ยุคนั้น กองหินประหลาดสโตนเฮนจ์ประกอบไปด้วยก้อนหินทรงสูงขนาดใหญ่จำนวน 112 ก้อนวางตั้งเรียงเป็นรูปวงกลมซ้อนกันสามวง บางก้อนล้มนอน บางก้อนวางทับซ้อนอยู่บนยอด วงหินรอบนอกมีเส้นผ่าศูนย์กลางถึง 100 ฟุต มีน้ำหนักเป็นตันๆ บริเวณที่ราบซาลิสเบอรีเป็นทุ่งโล่ง ไม่มีภูเขา และไม่ปรากฏว่ามีก้อนหินอยู่ในบริเวณใกล้เคียง อย่างไรก็ตามในปี พ.ศ. 2507 เจอรัลด์ เอส เฮากินส์ นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกันได้สันนิษฐานว่า เป็นสถานที่สำหรับทำนายตำแหน่งของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ที่สัมพันธ์กับการเกิดฤดูกาลบนพื้นโลก คือเป็นปฏิทินที่สร้างขึ้นมาอย่างหยาบๆนั่นเอง
วันอาทิตย์ที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2552
Sydney Opera House
เชื่อว่าหลายๆ คนคงเคยเห็นสถาปัตยกรรมรูปทรงคล้ายหอยเชลล์มาบ้างแล้วจากทีวี ภาพยนตร์ ซึ่งถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของออสเตรเลียก็ว่าได้ เป็นสถานที่ที่นักท่องเที่ยว แวะเวียนมาแชะรูปถ่ายกันตลอดเวลา ไม่ขาดสายเลยค่ะและภายใน Sydney Opera House ก็จะประกอบไปด้วยส่วนของศาลาคอนเสิร์ต โรงละคร ภัตตาคาร และศูนย์วัฒนธรรม แห่งชาติของประเทศออสเตรเลียและยังเป็นจุดชมวิวชมวิวที่สวยงาม ไม่ว่าจะเป็นตอนกลางวันหรือตอนกลางคืน และถ้าใครมาซิดนีย์แต่ไม่มาที่ Opera House ก็เท่ากับว่ามาไม่ถึง เพราะที่นี่เป็นหัวใจหลักเลยก็ว่าได้
วันอังคารที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2552
มหาวิหารโคโลญ
มหาวิหารโคโลญ (Cologne Cathedral หรือ Kolner Dom) สร้างสำเร็จพร้อมกับมีพีธีวางหลักหินบันทึกข้อมูลการก่อสร้าง (foundation stone) โดยเริ่มก่อสร้างมาตั้งแต่ปี 1791 แต่มีปัญหาให้ต้องหยุดพักการก่อสร้างไปบ้าง จึงต้องใช้เวลากว่าหกร้อยปีจึงสร้างเสร็จสมบูรณ์ มหาวิหารโคโลญเป็นศาสนสถานของคริสต์ศาสนาโรมันคาทอลิก นับเป็นวิหารที่ใหญ่และสูงที่สุดในโลกในสมัยนั้น (แม้ปัจจุบันก็ยังติดอันดับต้น ๆ) ลักษณะสถาปัตยกรรมแบบโกธิก (Gothic) เป็นหอคอยแฝดสูง 157 เมตร กว้าง 86 เมตร ยาว 144 เมตร สร้างเพื่ออุทิศให้ นักบุญปีเตอร์(Saint Peter) และ พระแม่มารี (Blessed Virgin Mary) ปัจจุบันมหาวิหารโคโลญนับจุดหมายสำคัญของเมืองโคโลญและประเทศเยอรมนี และได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกจากองค์การยูเนสโกในปี 2536
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)